ดีที่มีเวลาเรียนรู้ …สู่เกมใหม่

สถานการณ์วิกฤติในวงกว้าง ไม่ได้มาอย่างไม่มีที่ไม่มีทาง หากมาจากแรงปะทุปะทะไปมาระหว่างชิ้นส่วนเล็ก ๆ 

เป็นเช่นนั้น “เวลากาแฟ” อันแผ่วเบา จึงถูกกระชาก ลากไป ตามกระแสอันเชี่ยวกราก COVID-19  เป็นไปอย่างไม่มีกระบวน  พักใหญ่ทีเดียวกว่าจะมาถึง ณ ที่ ๆซึ่งพอให้ภาพหนึ่งซึ่งพอจับต้องได้

อ่านเพิ่มเติม “ดีที่มีเวลาเรียนรู้ …สู่เกมใหม่”

ความคิดใหญ่ พลังใหญ่

“..สะท้อนพลังพวกสตาร์ทอัพรุ่นใหม่ ทำงานอย่างพิถีพิถัน เชื่อมโยงเครือข่ายและองค์ความรู้ทั่วโลก เพื่อบุกเบิกร้านกาแฟบุคลิกพิเศษ แม้ดูเป็นกิจการเล็กๆ แต่ขับเคลื่อนด้วยไอเดียและแผนการยิ่งใหญ่ทีเดียว    ผมเชื่อว่า ในเมืองไทยคงเป็นเช่นนั้น”

อ่าน  รายละเอียด-พลังใหม่ ความคิดใหญ่ 

กรุงเทพฯ : แรงปะทะใหม่ (3)

ผมค่อนข้างเชื่อว่ากรุงเทพฯในช่วงอย่างน้อยทศวรรษจากนี้  ถือเป็นช่วงเวลาความอึดอัด กดดัน  ทั้งนี้ไม่ไดตั้งใจจะพาดพิงถึงเรื่องการเมือง หากเป็นชีวิตความเป็นอยู่ อ่านเพิ่มเติม “กรุงเทพฯ : แรงปะทะใหม่ (3)”

กรุงเทพฯ : แรงปะทะใหม่ (2)

เมืองหลวงปัจจุบัน-กรุงเทพฯ เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย เป็นเรื่องราวที่น่าสนใจ ในการค้นคว้า ศึกษากันอย่างจริงจัง  โดยเฉพาะมิติว่าด้วยความเชื่อมโยงกับอนาคต  กับสัญญาณเตือน อันเนืองมาจากวิกฤติการณ์นำท่วมครั้งล่าสุด  อ่านเพิ่มเติม “กรุงเทพฯ : แรงปะทะใหม่ (2)”

เขตอุตสาหกรรมลุ่มเจ้าพระยา(2)

ผลสะเทือนอันลึกซึ้งของวิกฤติการณ์นำท่วมใหญ่ คือการค้นพบ  “ความเสี่ยงใหม่”ของที่ราบลุ่มเจ้าพระยา และกรุงเทพฯ เป็น“ความเสี่ยง”ระดับยุทธศาสตร์ มีพลังผลักดันก่อเกิดกระบวนการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจ และโฉมหน้าของชุมชนเมืองในที่สุด อ่านเพิ่มเติม “เขตอุตสาหกรรมลุ่มเจ้าพระยา(2)”

จากเป้าหมายธุรกิจ สู่ยุทธศาสตร์

แม้ว่าแรงบีบคั้นหรือแรงจูงใจที่กล่าวถึงในกรณีต่อไปนี้ อาจไม่ได้เริ่มจากสายตาเชิงยุทธศาสตร์ แต่สุดท้ายหวังว่ากระบวนการทดลองว่าด้วยการศึกษาอันคดเคี้ยวและมีต้นทุน จะเข้าสู่ร่องรอยที่ควรเป็นไป อ่านเพิ่มเติม “จากเป้าหมายธุรกิจ สู่ยุทธศาสตร์”

ความรู้ทางธุรกิจ(3)บทเรียนธนาคารกสิกรไทย

ในช่วงกึ่งทศวรรษที่ผ่านมา  การพัฒนาบุคคลกรของธุรกิจไทย ถือเป็นช่วงข้ามผ่านจากยุคสงครามเวียดนามถึงปัจจุบัน  ภาพที่ชัดเจนที่ธนาคารกสิกรไทย   ถือเป็นกรณีศึกษาเดียวที่ควรศึกษาก็ว่าได้ อ่านเพิ่มเติม “ความรู้ทางธุรกิจ(3)บทเรียนธนาคารกสิกรไทย”

เกษตรกรรมไทย(4) เทคโนโลยี


ผมเคยเสนอความคิดว่าด้วยเกษตรกรรมของไทยในบางมิติไว้เมื่อ
10 กว่าปีที่แล้ว โดยเฉพาะประเด็นที่ว่า สังคมเกษตรไทยมีสิ่งมีค่าเพียง2สิ่ง ที่ดินจำนวนมากกับพืชพันธุ์ที่ถือว่าปลูกได้เจริญงอกงาม เฉพาะพื้นที่นี้ นอกนั้นต้องพึงพิงจากต่างประเทศ โดยเชื่อว่าความรู้ด้านเกษตรกรรมของสังคมไทยหยุดนิ่งมาหลายทศวรรษ

อ่านเพิ่มเติม “เกษตรกรรมไทย(4) เทคโนโลยี”

กรมชลประทาน

ระบบระบายน้ำฝั่งขวาเจ้าพระยา

ผมเคยกล่าวไว้ในFB ว่า “หากวิกฤติการณ์ครั้งนี้ทำให้เราได้เรียนรู้ด้านภูมิศาสตร์มากขึ้นคงจะดี บทสรุปของความตื้นเขินคงไม่ปรากฏกลาดเกลื่อน” เป็นข้อความที่รุกเร้ามากทีเดียว จึงขอใช้พื้นที่ขยายความให้เห็นภาพภูมิศาสตร์และภาพใหญ่อื่นๆที่เกี่ยวข้อง

อ่านเพิ่มเติม “กรมชลประทาน”